
แผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลยางชุมน้อย ประจำปี 2566
แผนยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
เป้าประสงค์
บริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก มีคุณภาพได้รับการยอมรับ ผ่านการรับรองมาตรฐาน
แผนกลยุทธ์
1.ส่งเสริมการนำมาตรฐานรพ.สส.พท. มาใช้และพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
2.ส่งเสริมการขยาย/เพิ่ม บริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กัญชา
3.พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการบริการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
4.พัฒนางานวิชาการ นวตกรรม การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
5.สร้างความพึงพอใจและความผูกพัน ผู้มารับบริการแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด
1.อัตราการใช้บริการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในกลุ่มผู้ป่วยนอก มากกว่า ร้อยละ 20.5
2.อัตราผู้มารับบริการ Palliative Care ใช้กัญชาทางการแพทย์ ร้อยละ 5 ผู้ป่วย IMC เพิ่มขึ้น
3.ผ่านการประเมินมาตรฐาน รพ.สส.พท.
4.อัตราความพึงพอใจผู้มารับบริการแพทย์แผนไทย มากกว่าร้อยละ 80 5.บุคลากรใช้บริการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก มากกว่า ร้อยละ 25
6.จำนวนครอบครัว/ชุมชน ต้นแบบที่ดูแลตนเองด้วยแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก อย่างน้อย หมู่บ้านละ 1 ครอบครัวในตำบลยางชุมน้อย
7.จำนวนผลงานวิชาการ รพ. 2 เรื่อง/รพ.สต. ละ 1 เรื่อง/แห่ง
ผู้รับผิดชอบหลัก งานแพทย์แผนไทย /หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภค
เป้าประสงค์
ประชาชนทุกกลุ่มวัย มีสุขภาพดี ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม
แผนกลยุทธ์
1.พัฒนาการรับรู้และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
2.การคุ้มครองผู้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ สถานบริการผ่านมาตรฐาน และองค์กรผู้บริโภค
3.พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (DHB) พชอ. รพ.สต.ติดดาว PCC
4.ลดปัจจัยเสี่ยง ภาวะแทรกซ้อนของโรค CD + NCD
5.การจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมสุขภาพ
ตัวชี้วัด
1.อัตราการฝากครรภ์ น้อยกว่า 12 สัปดาห์
2.ร้อยละของเด็กนักเรียนสูงดี สมส่วน
3.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี
4.อัตราการคลอดทารกมีชีพในมารดาอายุ 15 – 19 ปี
6.ร้อยละการสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน EPI ผ่านเกณฑ์
7.ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด
8.ร้อยละของภาคีเครือข่ายมีกิจกรรม การดำเนินการ และสนับสนุนงบประมาณตามเกณฑ์คุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (DHB) พชอ. รพ.สต.ติดดาว PCC
9.ร้อยละของหมู่บ้านผ่านเกณฑ์ลดเสี่ยงลดโรค
10.ร้อยละการรับรู้เรื่องสุขภาพของประชาชนทุกกลุ่มวัย
11.อัตราป่วยของประชาชนด้วยโรคและภัยสุขภาพลดลง
12.ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า เข้าถึงบริการสุขภาพจิต
13.ร้อยละของรพ.ที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมตามเกณฑ์ Green and Clean Hospital
14.อัตราการคัดกรองโรคสมาธิสั้น และออทิสติก
15.อัตราการเกิดโรครายใหม่ DM/HT
ผู้รับผิดชอบหลัก
กรรมการบริหารและคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ
กลุ่มงานปฐมภูมิและองค์รวม
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย
แผนยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ด้านบริการ
เป้าประสงค์
โรงพยาบาลให้บริการสุขภาพได้ตามมาตรฐาน ผู้รับบริการปลอดภัยและพึงพอใจ
แผนกลยุทธ์
1.พัฒนาศักยภาพบริการสุขภาพตาม Service Plan
2.พัฒนาระบบความปลอดภัยของผู้รับบริการ Patient safety
3.พัฒนาระบบการให้บริการ EMS (Environment, Modernization and Smart Service)
4.พัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน
ตัวชี้วัด
1.ร้อยละของโรงพยาบาลที่ใช้ยาสมเหตุสมผล RDU กัญชา
2.อัตราตายผู้ป่วยหลอดเลือดสมอง
3.ระยะเวลาที่ได้รับการรักษาเหมาะสมในผู้ป่วยหลอดเลือดสมอง
4.อัตราการรักษาสำเร็จของผู้ป่วยวัณโรครายใหม่
5.อัตราตายของมารดาและทารกแรกเกิด
6.ร้อยละการบรรเทาอาการปวดและจัดการอาการต่างๆ ในผู้ป่วยประคับประคอง
7.ร้อยละของผู้ป่วยซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต
8.อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จ
9.อัตราตายผู้ป่วย Sepsis
10.อัตราตายผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI
11.ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็ง ที่ได้รับการคัดกรองที่พบและได้รับการส่งต่อ (มะเร็งตับท่อน้ำดี มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่)
12.ร้อยละของผู้ป่วย DM HT ที่อัตราการลดลงของ eGFR < 4 ml/min/1.73 m2/yr มากกว่า 66
13.ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติด ที่บำบัดตามเกณฑ์กำหนดและได้รับการติดตามดูแลต่อเนื่อง 1 ปี
14.ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดกลุ่มเสี่ยงก่อความรุนแรง ได้รับการประเมินบำบัดรักษา และติดตามดูแลช่วยเหลือ ตามระดับความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง
15.ร้อยละของผู้ป่วยได้รับการบริบาลฟื้นฟูสภาพและติดตามจนครบ 6 เดือน Intermediate Care (IMC) Stroke Trauma Brain injury Spinal cord injury
16.ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
17.อุบัติการณ์การตายไม่คาดหวัง
18.อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล
19.อัตราความพึงพอใจผู้มารับบริการ
20.อุบัติการณ์ภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยจากการให้บริการระดับ G ขึ้นไป
21.จำนวน PCC ที่ผ่านมาตรฐาน
22.ร้อยละของการปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติโรคอุบัติเหตุใหม่
ผู้รับผิดชอบหลัก
– คณะกรรมการบริหาร
– คณะกรรมการ PCT/HR/RM
– ER
แผนยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ด้านบุคลากร
เป้าประสงค์
บุคลากรเพียงพอ มีสมรรถนะเหมาะสม และมีความสุขในการทำงาน
แผนกลยุทธ์
1.การบริหารจัดการกำลังคน
2.พัฒนาศักยภาพบุคลากร
3.พัฒนาองค์กรสร้างสุข
ตัวชี้วัด
1.ผ่านเกณฑ์องค์กรสร้างสุข
2.อัตราบุคลากรมีสมรรถนะตามเกณฑ์สมรรถนะในงาน
3.อัตราบุคลากรได้รับพัฒนาตามแผน IDP
4.อัตราความพึงพอใจในงานของบุคลากร
5.อัตราบรรยากาศความผูกพันในการทำงาน
6.อุบัติการณ์ความไม่ปลอดภัยและเจ็บป่วยของบุคลากรในการปฏิบัติงาน
ผู้รับผิดชอบหลัก
– HR บริหาร งานอาชีวอนามัย
แผนยุทธศาสตร์ที่ 5 ยุทธศาสตร์ด้านบริหารจัดการ
เป้าประสงค์
องค์กรมีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ด้วยหลักธรรมาภิบาล
แผนกลยุทธ์
1.พัฒนาระบบนิเทศ ควบคุม กำกับ ติดตามงาน
2.การบริหารจัดการการเงินการคลัง ให้คุ้มค่า คุ้มทุน
3.พัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการบริหารจัดการองค์กร
4.การธำรงคุณภาพ (HA LA X-RAY ITA ควบคุมภายใน)
5.พัฒนางานวิจัย/นวตกรรม
ตัวชี้วัด
1.ร้อยละแผนงานโครงการทุกงานตามยุทธศาสตร์ที่บรรลุตามแผนที่ตั้งไว้ มากกว่า 90
2.ร้อยละKPI ที่บรรลุตามเป้าหมาย มากกว่า 90
3.เกณฑ์ประเมิน Total Performance Score ระดับ A
4.ร้อยละการซื้อร่วม ยา เวชภัณฑ์ และเวชภัณฑ์ไม่ใช่ยา ทันตกรรม Lab X-ray มากกว่า 40
5.การเบิกจ่ายและก่อหนี้ผูกพันงบประมาณที่ได้รับจัดสรรภายในไตรมาศ 1
6.การเรียกเก็บการให้บริการทางการแพทย์ทุกรายการครบถ้วน ถูกต้อง และทันเวลา
7.ร้อยละการประเมิน ITA ผ่านการประเมินมากว่าร้อยละ 95
8.องค์กรผ่านคุณภาพ HA LA X-RAY ควบคุมภายใน
9.จำนวนผลงานวิจัย/นวัตกรรม ต่อเนื่อง/ได้รับรางวัล
ผู้รับผิดชอบหลัก คณะกรรมการบริหาร,คณะกรรมการIM,คณะกรรมการเฝ้าระวังสถานการณ์การเงินการคลัง,คณะกรรมการคุณภาพ